e-Licensing Readiness Assessment Tool
ระบุข้อมูลทั่วไป
(3 ข้อ)
ตอบคำถามเฉพาะ
(10 ข้อ)
ตรวจสอบผลและอ่านคำแนะนำ
หน้า 1/11
1. กรุณาระบุชื่อหน่วยงานของท่าน
2. โปรดระบุชื่อเอกสาร
3. ระบุปริมาณการออกเอกสาร
ต่อปี
น้อยกว่า 100 ครั้ง
100 - 999 ครั้ง
1,000 - 9,999 ครั้ง
10,000 - 99,999 ครั้ง
ตั้งแต่ 100,000 ครั้งเป็นต้นไป
ถัดไป
หน้า 2/11
4. ปัจจุบันการขับเคลื่อนกระบวนการออกเอกสาร
ไปสู่รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงานของท่าน ตรงตามข้อใด ?
หน่วยงานของท่านมีนโยบายอย่างชัดเจนที่จะไม่ผลักดันเรื่องนี้
หน่วยงานของท่านยังไม่ได้มีนโยบายที่แน่ชัดเกี่ยวกับเรื่องนี้
ไม่อยู่ในนโยบายหลักของหน่วยงานของท่านแต่เป็นสิ่งที่ผู้บริหารให้ความสำคัญ
เป็นหนึ่งในนโยบายหลักของหน่วยงานของท่าน
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 3/11
5. ปัจจุบันสถานะการจัดสรรงบประมาณ สำหรับการขับเคลื่อนการออกเอกสาร
ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ตรงตามข้อใด ?
เคยขอจัดสรรงบประมาณแล้วแต่ถูกตัดงบประมาณ จึงไม่ได้ดำเนินการต่อ
มีแนวคิดในการดำเนินโครงการ แต่ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการขอจัดสรรงบประมาณ
มีการยื่นเสนอโครงการเพื่อขอจัดสรรงบประมาณแล้ว และอยู่ระหว่างการพิจารณางบประมาณ
ได้รับการพิจารณาอนุมัติงบประมาณแล้ว และอยู่ระหว่างการจัดซื้อจัดจ้าง
จัดซื้อจัดจ้างแล้วและกำลังอยู่ระหว่างการดำเนินโครงการ
กำลังอยู่ระหว่างการดำเนินโครงการ และกำลังขอจัดสรรงบประมาณสำหรับปีถัดไป
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 4/11
6. บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ของหน่วยงานของท่าน มีบทบาทในการสนับสนุนการออกเอกสาร
ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างไร ?
หน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนภายนอก เป็นผู้พัฒนาและดูแลระบบ
บุคลากร IT ของหน่วยงานของท่านเป็นผู้ดูแลระบบ ที่หน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนภายนอกเป็นผู้พัฒนาระบบ
บุคลากร IT ของหน่วยงานของท่านเป็นผู้พัฒนาและดูแลระบบ
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 5/11
7. ปัจจุบันการจัดทำร่างเอกสาร
มีวิธีการอย่างไร ?
จัดทำเอกสารโดยไม่ผ่านระบบของหน่วยงาน เช่น เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูลจากแบบฟอร์มคำขอมาพิมพ์ เพื่อจัดทำร่างเอกสาร โดยอาจใช้ Microsoft Word/Excel หรือโปรแกรมสำเร็จรูปทั่วไป
จัดทำเอกสารโดยผ่านระบบของหน่วยงานของท่าน เช่น เจ้าหน้าที่ใช้ระบบหรือโปรแกรมที่ออกแบบมาเฉพาะสำหรับหน่วยงาน โดยระบบจะดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลมาสร้างร่างเอกสารแบบอัตโนมัติ
จัดทำเอกสารโดยใช้ระบบกลางร่วมกับหน่วยงานอื่น เช่น เจ้าหน้าที่ใช้ระบบการออกใบอนุญาตกลางภาครัฐ (เช่น Biz Portal) โดยระบบจะดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลมาสร้างร่างเอกสารแบบอัตโนมัติ
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 6/11
8. ปัจจุบันผู้มีอำนาจลงนาม ลงนามบนเอกสาร
ด้วยวิธีใด ? (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลงลายมือชื่อด้วยปากกาบนเอกสารกระดาษ
ลงลายมือชื่อโดยการอัปโหลดรูปภาพลายเซ็น
ลงลายมือชื่อด้วยปากกาแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Stylus)
ลงลายมือชื่อโดยการพิมพ์ชื่อ-นามสกุล
ลงลายมือชื่อโดยการทำเครื่องหมายหรือกดปุ่มยืนยัน
ลงลายมือชื่อโดยมีการกรอกรหัส OTP
ลงลายมือชื่อโดยแนบ Certificate ที่องค์กรของท่านเป็นผู้ออกเอง ลงบนเอกสาร
ลงลายมือชื่อโดยแนบ Certificate ที่ผู้ให้บริการออกใบรับรอง (CA) ออกให้ ลงบนเอกสาร
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 7/11
9. ปัจจุบันหน่วยงานท่านให้บริการตรวจสอบ
ความน่าเชื่อถือ
ของเอกสาร
แก่บุคคลภายนอกอย่างไรบ้าง ? (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
หน่วยงานยังไม่มีบริการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเอกสารให้แก่บุคคลภายนอก
หน่วยงานให้ผู้ใช้ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเอกสารด้วยตนเองบนโปรแกรม PDF Reader (เช่น Adobe Acrobat)
หน่วยงานท่านมีระบบให้ผู้ใช้อัปโหลดไฟล์เพื่อตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเอกสาร
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 8/11
10. ปัจจุบันหน่วยงานท่านให้บริการตรวจสอบ
ความถูกต้อง
ของเอกสาร
แก่บุคคลภายนอกอย่างไรบ้าง ? (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
หน่วยงานยังไม่มีบริการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารให้แก่บุคคลภายนอก
หน่วยงานท่านให้ผู้ใช้ยื่นคำร้องขอตรวจสอบเอกสารมาที่หน่วยงาน
หน่วยงานท่านมีระบบให้ผู้ใช้สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารจากฐานข้อมูล เช่น แพทยสภามีระบบให้ผู้ใช้กรอก ชื่อ นามสกุล และเลขที่ใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม ของแพทย์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง
หน่วยงานท่านจัดทำ QR Code บนเอกสาร ที่ลิงก์ไปยังระบบตรวจสอบของหน่วยงาน
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 9/11
11. เอกสาร
มีการแก้ไข โอนกรรมสิทธิ์ หรือ ต่ออายุ ลงบนเอกสารใบเดิมหรือไม่ ?
มี
ไม่มี
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 10/11
12. เอกสาร
สามารถยกเลิกได้หรือไม่ ?
ได้
ไม่ได้
ย้อนกลับ
ถัดไป
หน้า 11/11
13. ขั้นตอนใดบ้างของเอกสาร
ที่มีกฎหมายเป็นอุปสรรค ? (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ขั้นตอนการขออนุญาต
ตัวอย่าง: อุปสรรคการขออนุญาตผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น หน่วยงานมีกฎระเบียบที่ระบุให้ยื่นคำขอที่สำนักงาน/แสดงตัวต่อเจ้าพนักงาน เป็นต้น
ขั้นตอนการชำระค่าธรรมเนียม
ตัวอย่าง: อุปสรรคการชำระค่าธรรมเนียมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น หน่วยงานไม่มีกฎระเบียบรองรับการออกใบเสร็จรับเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Receipt) เป็นต้น
ขั้นตอนการลงลายมือชื่อในเอกสาร
ตัวอย่าง: อุปสรรคการลงลายมือชื่อผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น กฎระเบียบระบุหลักเกณฑ์ที่ไม่รองรับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนการรับ
ตัวอย่าง: อุปสรรคการรับใบอนุญาตผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น กฎระเบียบระบุให้ผู้ยื่นคำขอมารับใบอนุญาตที่หน่วยงาน หรือกฎระเบียบระบุว่าเอกสารจะต้องมีการประทับตราของหน่วยงานเป็นลายนูน เป็นต้น
ขั้นตอนการนำไปใช้ต่อของผู้รับ
ตัวอย่าง: อุปสรรคการนำเอกสารไปใช้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น หน่วยงานมีกฎระเบียบกำหนดให้ต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานประกอบการที่ได้รับอนุญาต/แสดงใบอนุญาตและเอกสารต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เป็นต้น
ขั้นตอนการนำเอกสารไปใช้ต่อของหน่วยงานอื่น
ตัวอย่าง: อุปสรรคการนำเอกสารไปใช้ โดยหน่วยงานอื่น เช่น หน่วยงานอื่นมีกฎระเบียบกำหนดให้ต้องแสดงใบอนุญาตตัวจริงต่อเจ้าหน้าที่เมื่อร้องขอ เป็นต้น
ขั้นตอนการยกเลิก
ตัวอย่าง: อุปสรรคการยกเลิกเอกสารผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น หน่วยงานมีกฎระเบียบกำหนดให้ต้องมีการคืนเอกสารฉบับเดิมเมื่อมีการยกเลิกใบอนุญาต เป็นต้น
ขั้นตอนการแก้ไข หรือโอนกรรมสิทธิ์
ตัวอย่าง: อุปสรรคการแก้ไข หรือโอนกรรมสิทธิ์เอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น หน่วยงานมีกฎระเบียบกำหนดให้ต้องมีการประทับตราแก้ไขลงบนเอกสารฉบับเดิม เมื่อมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสาร เป็นต้น
ขั้นตอนการต่ออายุ
ตัวอย่าง: อุปสรรคการต่ออายุเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น หน่วยงานมีกฎระเบียบกำหนดให้ต้องมีการประทับตราต่ออายุลงบนเอกสารฉบับเดิม เมื่อมีการต่ออายุเอกสาร เป็นต้น
ไม่มีอุปสรรค
ย้อนกลับ